เกี่ยวกับวิทยาลัย – วิทยาลัยการอาชีพห้วยยอด https://www.huaiyot.ac.th อาชีวศึกษาจังหวัดตรัง Mon, 05 Aug 2024 09:52:04 +0700 th hourly 1 https://wordpress.org/?v=5.3 https://www.huaiyot.ac.th/wp-content/uploads/2019/11/cropped-logoUrl-32x32.png เกี่ยวกับวิทยาลัย – วิทยาลัยการอาชีพห้วยยอด https://www.huaiyot.ac.th 32 32 ข้อมูลบุคลากร https://www.huaiyot.ac.th/personal/?utm_source=rss&utm_medium=rss&utm_campaign=personal Tue, 04 Oct 2022 08:16:00 +0000 http://182.52.98.93/?p=26

ทำเนียบผู้บริหารของวิทยาลัยการอาชีพห้วยยอด

1. ดร.พฒศ์ศิวพิศ 
2. นายวิเชียร
3. นายมานิตย์
4. นายสุพล
5. นายอุทิศ
6. นายประพันธ์
7. 
นายจำนงค์
8. ดร.
กษิดิฏฐ์
9. นายสายัณห์

โนรี
ชูรอด
อักษรกุล
สวัสดี   
ลิ่มสุวรรณ
รอดราวี
พิศุทธางกูร
คำศรี
แร่ทอง

มี.ค. 2536 ก.ย.2542
พ.ย. 2542 ก.ย.2543
ก.ค. 2543 ก.ย.2545
ธ.ค. 2545 ธ.ค.2547
ม.ค. 2536 ธ.ค.2548
ม.ค. 2549 ก.ย.2557
ต.ค. 2557 ก.ย.2560
ธ.ค. 2560 – ก.ย.2565
ต.ค. 2565 – ปัจจุบัน

]]>
ข้อมูลสถานประกอบการ https://www.huaiyot.ac.th/establishment/?utm_source=rss&utm_medium=rss&utm_campaign=establishment Mon, 30 Mar 2020 02:54:48 +0000 http://www.huaiyot.ac.th/?p=616

สถานการณ์ว่างงาน และความต้องการแรงงาน ใน จ.ตรัง

ข่าวประกาศรับสมัครงาน ใน จ.ตรัง

]]>
ข้อมูลงบประมาณ https://www.huaiyot.ac.th/budget/?utm_source=rss&utm_medium=rss&utm_campaign=budget Mon, 30 Mar 2020 02:36:51 +0000 http://www.huaiyot.ac.th/?p=613 ข้อมูลพื้นฐาน-งปม.66-ส่งงานศูนย์

ข้อมูลพื้นฐาน-งปม.65-ส่งงานศูนย์

ข้อมูลพื้นฐาน-งปม.64-ส่งงานศูนย์

]]>
ข้อมูลครุภัณฑ์ https://www.huaiyot.ac.th/durable/?utm_source=rss&utm_medium=rss&utm_campaign=durable Mon, 30 Mar 2020 02:31:21 +0000 http://www.huaiyot.ac.th/?p=608 รายการครุภัณฑ์แผนกวิชา

รายการครุภัณฑ์งานต่างๆ

]]>
ข้อมูลอาคารสถานที่ https://www.huaiyot.ac.th/building/?utm_source=rss&utm_medium=rss&utm_campaign=building Tue, 12 Nov 2019 13:53:27 +0000 http://182.52.98.93/?p=221
]]>
ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดตรัง https://www.huaiyot.ac.th/trang/?utm_source=rss&utm_medium=rss&utm_campaign=trang Tue, 12 Nov 2019 13:34:25 +0000 http://182.52.98.93/?p=209

           ตรังเป็นจังหวัดหนึ่งทางภาคใต้ด้านฝั่งทะเลตะวันตก มีหลักฐานความเป็นมาที่ยาวนาน แต่เนื่องจากตรังไม่ได้เป็นเมืองรบทัพจับศึก จึงไม่ค่อยมีชื่อในประวัติศาสตร์เท่าใดนัก ทั้งที่จริงตรังเป็นชุมชนมานานแล้ว มีหลักฐานพอจะอ้างอิงได้
            จังหวัดตรัง ตั้งอยู่ภาคใต้ของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพฯ 828 กม. มีพื้นที่ประมาณ 4,941.439 ตร.กม. หรือประมาณ 3,088,399.375 ไร่

อาณาเขตของจังหวัดตรัง

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช และอำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่
  • ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล และทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอควนขนุน อำเภอกงหรา และอำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภอคลองท่อม เกาะลันตา จังหวัดกระบี่ และทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย

คำขวัญของจังหวัดตรัง
ชาวตรังใจกว้าง   สร้างแต่ความดี

คำขวัญท่องเที่ยวของจังหวัดตรัง

เมืองพระยารัษฎา  
The city Of Phraya Rasda ;
ชาวประชาใจกว้าง  
broad – hearted citizen ;
หมูย่างรสเลิศ  
delicious roast pork ;
ถิ่นกำเนิดยางพารา  
origin place of para rubber ;
เด่นสง่าดอกศรีตรัง  
lovely Sri Trang flower ;
ประการังใต้ทะเล  
beautiful coral reel ;
เสน่ห์หาดทรายงาม  
chamming sandy beach;
น้ำตกสวยตระการตา  
and wonderful waterfalls.

        ภาวะเศรษฐกิจของจังหวัดตรัง ขึ้นอยู่กับพืชเศรษฐกิจ ได้แก่ ยางพารา ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการทำสวนยางพารา ถ้าปีใดยางพารามีราคาสูง เศรษฐกิจของจังหวัดโดยรวมก็จะดี แต่ถ้าปีใดราคายางพาราตกต่ำ เศรษฐกิจโดยรวมก็จะซบเซาไปด้วย

อาชีพสำคัญ ที่ทำรายได้มาสู่จังหวัดตรังได้แก่

  • การกสิกรรม พืชที่ปลูกสำคัญได้แก่ ยางพารา ข้าว มะพร้าว ปาล์มน้ำมัน ทุเรียน มะม่วงหิมพานต์
    สะตอ กาแฟ แตงโม ถั่วลิสง ผักต่าง ๆ
  • การประมง จังหวัดตรังมีอาณาเขตติดต่อกับฝั่งทะเลอันดามันมหาสมุทรอินเดีย ถึง 4 อำเภอ 1
    กิ่งอำเภอ การประมงจึงเป็นอาชีพและรายได้หลักที่สำคัญอย่างหนึ่งของจังหวัดตรัง
  • การอุตสาหกรรม ได้แก่ อุตสาหกรรมโรงงานแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร เช่น
    โรงงานรมควันยาง ผลิตอาหารทะเลแช่แข็ง ผลิตอาหารทะเลกระป๋อง ผลิตปลาบดแช่แข็ง ฯลฯ
  • การป่าไม้ ได้แก่ การเผาถ่านไม้
  • การพาณิชย์ ได้แก่ การค้าส่ง ค้าปลีก ค้ากับต่างประเทศ มีสินค้าจากผลิตผลทางการเกษตร เช่น
  • ยางแผ่นรมควัน ยางแท่งทีทีอาร์ สัตว์น้ำทะเล และผลิตภัณฑ์จากสัตว์น้ำทะเล ฯลฯ

ทรัพยากรที่สำคัญของจังหวัดตรัง จำแนกตามประเภทได้ดังนี้

  •  ยางพารา เป็นพืชเศรษฐกิจที่ทำรายได้ให้แก่ประชาชนเป็นอย่างมาก ปลูกทั่วไปทุกอำเภอแต่ปลูกมากที่สุด ได้แก่ อำเภอปะเหลียน
  • สัตว์น้ำ จังหวัดตรังมีอาณาเขตติดต่อกับชายฝั่งทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย
    ในเขตอำเภอสิเกา อำเภอกันตัง อำเภอปะเหลียน อำเภอย่านตาขาว และกิ่งอำเภอหาดสำราญ
    มีความยาวประมาณ 119 กิโลเมตร จึงอุดมสมบูรณ์ไปด้วยสัตว์ทะเลนานาชนิด
  • แร่ แร่ธาตุ สำคัญได้แก่ แร่ดีบุก แร่ฟลูออไรด์ แร่ถ่านหิน และแร่แบไรท์ มีมากที่อำเภอห้วยยอด
  • ปาล์มน้ำมัน ปลูกมากที่อำเภอสิเกา และอำเภอวังวิเศษ ซึ่งมีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดกระบี่
  • รังนกมีตามเกาะต่าง ๆ ในเขตอำเภอกันตัง อำเภอปะเหลียน อำเภอสิเกา ซึ่งเอกชนได้รับสัมปทานเก็บในแต่ละปี

            การปกครองแบ่งออกเป็น 10 อำเภอ 85 ตำบล 723 หมู่บ้าน 77  องค์การบริหารส่วนตำบล และ 22 เทศบาล ได้แก่

อำเภอ
ตำบล
หมู่บ้าน
เทศบาล
อบต.
อำเภอเมืองตรัง
14
121
4
12
อำเภอกันตัง
13
83
1
13
อำเภอปะเหลียน
10
86
3
9
อำเภอย่านตาขาว
8
67
3
6
อำเภอสิเกา
5
40
3
4
อำเภอห้วยยอด
16
133
5
14
อำเภอวังวิเศษ
5
68
1
5
อำเภอนาโยง
6
53
1
6
อำเภอรัษฎา
5
50
1
5
่อำเภอหาดสำราญ
3
22
3
รวม
85
723
22
77

]]>
ข้อมูลหลักสูตร https://www.huaiyot.ac.th/course/?utm_source=rss&utm_medium=rss&utm_campaign=course Mon, 11 Nov 2019 03:23:49 +0000 http://182.52.98.93/?p=75
รายงานหลักสูตรที่เปิดสอนของสถานศึกษา
ที่หลักสูตรประเภทวิชาสาขาวิชาสาขางาน
1ปวช.67อุตสาหกรรมช่างยนต์ช่างยนต์
2ปวช.67อุตสาหกรรมช่างเชื่อมโลหะช่างเชื่อมโลหะ
3ปวช.67อุตสาหกรรมช่างไฟฟ้าไฟฟ้า
4ปวช.67อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
5ปวช.67อุตสาหกรรมช่างก่อสร้างช่างก่อสร้าง
6ปวช.67พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจการบัญชีการบัญชี
7ปวช.67พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจการตลาดการตลาด
8ปวช.67พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจการเลขานุการการเลขานุการ
9ปวช.67อุตสาหกรรมท่องเที่ยวการท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
10ปวช.67อุตสาหกรรมอาหารอาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
11ปวช.67อุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
12ปวช.67อุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
13ปวส.67อุตสาหกรรมเทคนิคเครื่องกลเทคนิคเครื่องกล (ทวีภาคี)
14ปวส.67อุตสาหกรรมเทคนิคโลหะเทคนิคโลหะ (ทวิภาคี)
15ปวส.67อุตสาหกรรมไฟฟ้าไฟฟ้า
16ปวส.67อุตสาหกรรมเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์(ทวิภาคี)
17ปวส.67อุตสาหกรรมโยธาโยธา
18ปวส.67พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจการบัญชีการบัญชี
19ปวส.67พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจการตลาดการตลาด (ทวิภาคี)
20ปวส.67พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจการจัดการสำนักงานดิจิทัลการจัดการสำนักงานดิจิทัล (ทวิภาคี)
21ปวส.67อุตสาหกรรมดิจิทัลและเทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
22ปวส.67อุตสาหกรรมอาหารอาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ (ทวิภาคี)
23ปวส.67อุตสาหกรรมท่องเที่ยวการโรงแรมการโรงแรม (ทวิภาคี)
     
     
 ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2567
รายงานหลักสูตรที่เปิดสอนของสถานศึกษา
ที่ หลักสูตร ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน
1 ปวช.62 อุตสาหกรรม ช่างยนต์ ยานยนต์
2 ปวช.62 อุตสาหกรรม ช่างเชื่อมโลหะ ผลิตภัณฑ์
3 ปวช.62 อุตสาหกรรม ช่างไฟฟ้ากำลัง ไฟฟ้ากำลัง
4 ปวช.62 อุตสาหกรรม ช่างอิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์
5 ปวช.62 อุตสาหกรรม ช่างก่อสร้าง ก่อสร้าง
6 ปวช.62 พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ การบัญชี การบัญชี
7 ปวช.62 พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ การตลาด การตลาด
8 ปวช.62 พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ การเลขานุการ การเลขานุการ
9 ปวช.62 พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
10 ปวช.62 คหกรรม อาหารและโภชนาการ อาหารและโภชนาการ
11 ปวช.62 อุตสาหกรรมท่องเที่ยว การท่องเที่ยว การท่องเที่ยว
12 ปวช.62 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ
13 ปวส.63 อุตสาหกรรม เทคนิคเครื่องกล เทคนิคยานยนต์ (ทวีภาคี)
14 ปวส.63 อุตสาหกรรม เทคนิคโลหะ เทคโนโลยีงานเชื่อมและขึ้นรูปผลิตภัณฑ์โลหะ (ทวิภาคี)
15 ปวส.63 อุตสาหกรรม ไฟฟ้า ไฟฟ้ากำลัง
16 ปวส.63 อุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ (ทวิภาคี)
17 ปวส.63 อุตสาหกรรม ช่างก่อสร้าง โยธา
18 ปวส.63 อุตสาหกรรม เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
19 ปวส.63 พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ การบัญชี การบัญชี
20 ปวส.63 พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ การตลาด การตลาด (ทวิภาคี)
21 ปวส.63 พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ การเลขานุการ การจัดการสำนักงาน (ทวิภาคี)
22 ปวส.63 พาณิชยกรรม/บริหารธุรกิจ เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
ธุรกิจดิจิทัล
23 ปวส.63 คหกรรม อาหารและโภชนาการ อาหารและโภชนาการ (ทวิภาคี)
24 ปวส.63 อุตสาหกรรมท่องเที่ยว การโรงแรม บริการส่วนหน้าโรงแรม (ทวิภาคี)
         
  ข้อมูล ณ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567
]]>
ข้อมูลสถานศึกษา https://www.huaiyot.ac.th/history/?utm_source=rss&utm_medium=rss&utm_campaign=history Sun, 10 Nov 2019 02:27:59 +0000 http://182.52.98.93/?p=67

Huaiyot Industrial and Community Education College

วิทยาลัยการอาชีพห้วยยอด เป็นวิทยาลัยการอาชีพระดับอำเภอ ตั้งอยู่ในเขตการศึกษา 4 สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
วิทยาลัยการอาชีพห้วยยอดประกาศ จัดตั้งเมื่อ วันที่ 4 มีนาคม 2536 โดยกระทรวงศึกษาธิการ งบประมาณครั้งแรกที่ได้รับจำนวน 28 ล้านบาท ซึ่งเป็นงบผูกพัน 3 ปี ตั้งแต่ปีงบประมาณ
2537 – 2539 เพื่อดำเนินการสร้างอาคารต่าง ๆ ได้แก่

  • อาคารเรียนและปฏิบัติการ 4 ชั้น 1 หลัง
  • อาคารหอประชุมเอนกประสงค์ 1 หลัง
  • อาคารโรงฝึกงาน 480 ตารางเมตร 2 หลัง
  • บ้านพักผู้บริหาร 1 หลัง
  • บ้านพัก ครู- อาจารย์ 2 ชั้น 2 หลัง จำนวน 12 ยูนิต
  • บ้านพัก นักการภารโรงชั้นเดียว 3 หลัง 6 ยูนิต
  • ห้องน้ำ ห้องส้วม 2 หลัง

อาคารทั้งหมดได้ทำการก่อสร้างแล้วเสร็จตามสัญญา ในวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2538

วิทยาลัยการอาชีพห้วยยอดได้เปิดรับสมัครนักเรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
2 ประเภทวิชา คือ

ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ได้แก่

  • สาขาวิชาช่างยนต์
  • สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง
  • สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์
  • สาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ
  •  สาขาวิชาช่างก่อสร้าง

ประเภทวิชาพาณิชยกรรม ได้แก่

  • สาขาวิชาบัญชี
  • สาขาวิชาการขาย
  • สาขาวิชาเลขานุการ

รวมนักเรียนทั้งสิ้น จำนวน 560 คน

วิทยาลัยการอาชีพห้วยยอดทำการเปิดการเรียนการสอนครั้งแรกเมื่อ วันที่ 17 พฤษภาคม 2538

อาณาเขต :
     ทิศเหนือ จดถนนสาธารณะ
     ทิศใต้จดโรงพยาบาลห้วยยอด
     ทิศตะวันออกจดสวนยางพาราของเอกชน
     ทิศตะวันตกจดถนนเทศารัษฎา

     ขนาดเนื้อที่รวม 57 ไร่

ปรัชญาสถานศึกษา : สนองตอบประชา สรรหาภูมิธรรม โน้มนำวิทยา พัฒนายั่งยืน

อัตลักษณ์ :  ทักษะดี  มีจิตอาสา

เอกลักษณ์ : บริการวิชาชีพสู่สังคม

คุณธรรมอัตลักษณ์ : ซื่อสัตย์ ประหยัด จิตอาสา

สีประจำโรงเรียน : คือ สีเลือดหมู – ขาว

วิสัยทัศน์

          วิทยาลัยการอาชีพห้วยยอด บริหารจัดการสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของพัฒนาประเทศ

พันธกิจ

  1. บริหารจัดการสถานศึกษาโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมาภิบาล
  2. ผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐานสากล
  3. ส่งเสริมการบริการวิชาการและวิชาชีพสู่สังคม
  4. ส่งเสริมการพัฒนา นวัตกรรม งานสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ และวิจัย 
  5. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ในการจัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมอาชีพ
]]>
ข้อมูลนักเรียนนักศึกษา https://www.huaiyot.ac.th/std/?utm_source=rss&utm_medium=rss&utm_campaign=std Fri, 08 Nov 2019 12:13:07 +0000 http://182.52.98.93/?p=23
]]>